iNews Online
กรุงเทพธุรกิจ
วันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567
กรุงเทพธุรกิจ • ในขณะที่ นักลงทุนทั่วโลกวิตกกังวลกับภาวะ “แบล็กมันเดย์” หรือการที่ตลาดหุ้น ตำ�่ ในหลายตลาดทั่วโลกช่วงสั้นๆ เมื่อ สัปดาห์ที่ผ่านมา แต่ที่ “เกาหลีใต้” นักลงทุนรายย่อยกลับถือเอาความ กลัวนี้เป็น “โอกาส” ในการเข้าไป ซื้อหุ้นสหรัฐเพิ่ม จากเดิมที่แพง จนเกินเอื้อม สำ� นักข่าวรอยเตอร์รายงานว่า บรรดานักลงทุนรายย่อยชาว เกาหลีใต้ก� ำลังเดิมพันกับตลาด หุ้นโลกในช่วงเวลาดังกล่าว โดยเพิ่ม เงินลงทุนเข้าไปในตลาดหุ้นสหรัฐ หลังจากที่ทยอยซื้อมาแล้วหลายปี ก่อนหน้านี้ ขณะที่นักวิเคราะห์ และนักลงทุนคาดการณ์ว่า แนวโน้มนี้จะยังคงด� ำเนินต่อไป เนื่องจากมูลค่าของตลาดหุ้นใน ประเทศยังคงอยู่ในระดับต�่ำ แม้ว่ารัฐบาลเกาหลีใต้จะพยายาม ด�ำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อกระตุ้น ตลาดหุ้นภายในประเทศ แต่นักลงทุน รายย่อยในเกาหลีใต้กลับออกไป กว้านซื้อหุ้นเทคโนโลยีในสหรัฐ ทั้ง อินวิเดีย, เทสลา และแอปเปิ้ลกัน ในปีนี้ ซึ่งส่วนหนึ่งได้แรงหนุนจาก กระแสความคลั่งไคล้ในเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) ทั่วโลก ซันนี่ โนห์ วัย 49 ปี หนึ่งใน นักลงทุนรายย่อยชาวเกาหลีใต้ที่ลงทุน ในเทสลามาตั้งแต่ปี 2563 ซึ่งคิดเป็น 85% ของพอร์ตการลงทุน ให้เหตุผล ในการลงทุนหุ้นรถไฟฟ้าสหรัฐอย่าง หนักแน่นว่า ช่วงเวลาที่ตลาดตกตำ�่ เมื่อ สัปดาห์ที่แล้วเป็นเพียงแค่ช่วงสั้นๆ และเชื่อมั่นว่าในระยะยาวหุ้นเทสลา จะกลับมาเติบโตอีกครั้ง “มันอาจจะตกใน 1 ปีหรือ 2 ปี แต่จะกลับมาสูงขึ้นในระยะยาว 10 ปี” โนห์กล่าว นักลงทุนรายย่อยต่างรู้สึกผิด หวังกับปัญหา “ส่วนลดเกาหลี” (Korea Discount) หรือการ ที่ราคาหุ้นของบริษัทเกาหลีใต้ ส่วนใหญ่มักถูกประเมินมูลค่าตำ�่ กว่ามูลค่าที่แท้จริงเมื่อเทียบกับ บริษัทในประเทศอื่นๆ ที่มีขนาด และความแข็งแกร่งใกล้เคียงกัน ซึ่งเป็นปัญหาเรื้อรังและท� ำให้ บรรดานักลงทุนรายย่อยได้รับ ผลตอบแทนต�่ำกว่าที่ควรจะเป็น จากตลาดหุ้นในบ้านตัวเอง World 8
เฉพาะช่วง 7 เดือนแรกของปีนี้ นักลงทุนรายย่อยเกาหลีใต้ซื้อหุ้นสหรัฐเป็นมูลค่าถึง 9 พันล้านดอลลาร์แล้ว จากเดิมที่เทขายไปกว่า 2.8 พันล้านดอลลาร์ ในปี 2566
ยุน ซอกยอล ในการกระตุ้นการประเมิน มูลค่าหุ้นที่ตกตำ�่ ในประเทศ แม้ว่ายุนได้ ให้สัญญาว่าจะยกเลิกแผนเรียกเก็บภาษี ก� ำไรที่ได้จากการลงทุนในหุ้นที่มีมูลค่า เกิน 50 ล้านวอน แต่เป็นที่คาดว่าจะยัง ไม่สามารถเรียกความเชื่อมั่นได้มากนัก โอ จองมิน นักลงทุนรายย่อยวัย 42 ปี ซึ่งขาดทุนประมาณ 10% หรือราว 100 ล้านวอน (ราว 2.5 พันล้านบาท) จากหุ้นในประเทศและ หุ้นสหรัฐในช่วงตลาดผันผวนสัปดาห์ที่แล้ว กล่าวว่า เขาได้ชดเชยความสูญเสียบางส่วน กลับแล้ว และวางแผนจะซื้อหุ้นสหรัฐเพิ่ม “เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม” “แนวโน้มการจ่ายเงินปันผลและผล ตอบแทนผู้ถือหุ้นแบบที่ผมเห็นในบริษัท สหรัฐนั้น แทบจะหาไม่ได้ในเกาหลี” โอกล่าว ทั้งโนห์และโอเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม นักวิเคราะห์ นักลงทุน และเจ้าหน้าที่รัฐ 8 คน ที่บอกกับรอยเตอร์เป็นเสียงเดียวกันถึง ทิศทางการไหลออกของเงินทุนในตลาดหุ้น เกาหลีใต้ที่คาดว่าจะยังคงด� ำเนินต่อไป เนื่องจากประชากรที่มีอายุมากขึ้นต้องการ ผลตอบแทนที่สูงขึ้น ทางฝั่งรัฐบาลนั้นตระหนักถึงปัญหานี้ดี จนมีเสนอโครงการที่ชื่อว่า “Corporate Value-up Programme” ขึ้นมาในเดือน ก.พ. เพื่อกระตุ้นการลงทุนจากทั้งนักลงทุนราย ย่อย นักลงทุนสถาบัน และนักลงทุนต่างชาติ โดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ตลาดหุ้นในประเทศ โดยได้แรงบันดาลใจ จากการปฏิรูปตลาดทุนของญี่ปุ่น และหนึ่ง ในนั้นก็คือมาตรการการใช้แรงจูงใจทางภาษี เพื่อดึงดูดนักลงทุนรายย่อย อย่างไรก็ตาม นักวิเคราะห์หลายราย มองว่าโปรแกรมนี้อาจช่วยได้เพียงเล็กน้อย เหตุผลส� ำคัญคือโครงสร้างการก� ำกับ ดูแลที่ขาดความโปร่งใสของกลุ่มบริษัท ครอบครัว หรือที่เรียกว่า “ชินซา” ในเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการที่ครอบครัวผู้ควบคุม มักถ่ายโอนหุ้นให้ทายาทรุ่นถัดไปในราคา ที่ต�่ำกว่าราคาตลาด นักวิเคราะห์จากมอนเดรียน อินเวสเมนท์ พาร์ทเนอร์ส ได้ให้ความเห็นว่า “ในญี่ปุ่น เพียงคำ� สั่งจากตลาดหลักทรัพย์ ให้บริษัทปรับปรุงก็สามารถสร้างการ เปลี่ยนแปลงได้ แต่สำ� หรับเกาหลีใต้โดย เฉพาะกับกลุ่มชินซา ยังเป็นที่กังขาว่าการ ชักจูงจากรัฐบาลเพียงอย่างเดียวจะเพียง พอหรือไม่” “ส� ำหรับนักลงทุนที่มองการณ์ไกล ไม่ต้องสงสัยเลยว่าท� ำไมจึงควรเลือก ตลาดสหรัฐหากมองในระยะยาว” โอ จองมิน กล่าว
ข้อมูลล่าสุดจากคณะกรรมการ ก� ำกับดูแลทางการเงินเกาหลีใต้ เปิดเผยว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา อัตราส่วนการจ่ายเงินปันผลต่อ ก� ำไรสุทธิของบริษัทจดทะเบียน ในเกาหลีใต้เฉลี่ยอยู่ที่ 26% เท่านั้น ซึ่งตำ�่ กว่าคู่แข่งอย่างไต้หวันที่ 55%, ญี่ปุ่น 36% และสหรัฐ 42% ความผิดหวังของนักลงทุนยิ่ง ทวีคูณขึ้นเมื่อ “ซัมซุง อิเล็กทรอนิกส์” และ “เอสเค ไฮนิกซ์” สองแชโบล ยักษ์ใหญ่ของเกาหลีใต้ไม่สามารถ เป็นผู้นำ� ในกระแสเทคโนโลยีเอไอได้ ส่งผลให้ราคาหุ้นของซัมซุงลดลง 4% นับตั้งแต่ต้นปีนี้มา ขณะที่มูลค่าหุ้นของคู่แข่งในสหรัฐ อย่าง อินวิเดีย พุ่งขึ้นถึง 120% หุ้นของ ไฮนิกซ์กลับเพิ่มขึ้นแค่ 25% นอกจากนี้ อัตราส่วนราคาต่อมูลค่าหุ้น (P/E ratio)
เกาหลีใต้หมดหวังรวยในบ้าน แห่ทุ่มเงินลงทุนใน ‘หุ้นสหรัฐ’
กระเพื่อมที่ทรงพลังในตลาดหุ้นได้จนได้ รับการขนานนามว่า “มด” โดยที่กองทัพ มดเกาหลีใต้ได้ลงทุนในตลาดต่างประเทศ อย่างต่อเนื่องมานานกว่า 10 ปีแล้ว โดย เฉพาะตลาดหุ้นสหรัฐ เฉพาะช่วง 7 เดือนแรกของปีนี้ นักลงทุน รายย่อยเกาหลีใต้ซื้อหุ้นสหรัฐเป็นมูลค่าถึง 9 พันล้านดอลลาร์แล้ว จากเดิมที่เทขาย ไปกว่า 2.8 พันล้านดอลลาร์ในปี 2566 ซึ่ง เป็นการขายครั้งแรกหลังจากผ่านช่วงที่
ของบริษัทเกาหลีใต้ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมาเฉลี่ยอยู่ที่เพียง 1.04 ซึ่ง ตำ�่ กว่าสหรัฐที่ 3.64 อย่างมาก สะท้อน ให้เห็นถึงการประเมินมูลค่าที่ตำ�่ กว่า ของบริษัทเกาหลีใต้ในสายตานักลงทุน กองทัพมดบุกสหรัฐ นักลงทุนรายย่อยชาวเกาหลีใต้ มีจำ� นวนมากถึง 14 ล้านคน ซึ่งเมื่อ รวมพลังกันแล้วสามารถสร้างแรง
ตลาดหุ้นสหรัฐบูมไปแล้ว 3 ปี ในทางกลับกัน กองทัพมดเกาหลีเลือก เทขายหุ้นในประเทศเป็นมูลค่าสูงสุดเป็น ประวัติการณ์ที่ 16.3 ล้านล้านวอน (3.8 แสนล้านดอลลาร์) ทำ� ให้ดัชนี KOSPI ของ หุ้นกลุ่มบลูชิปลดลง 1.3% นับตั้งแต่ต้นปีนี้ สวนทางกับดัชนี S&P 500 และ Nikkei 225 ที่พุ่งขึ้น 13% และ 5% ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม ตลาดหุ้นเกาหลีใต้ได้ แรงซื้อของนักลงทุนต่างชาติช่วยเอาไว้
จนแตะระดับสูงสุดใหม่ที่ 27 ล้านล้านวอน ในช่วง 7 เดือนแรกของปีนี้ แต่ก็ยังคิดเป็น เพียง 27% ของมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยรายวัน โดยที่นักลงทุนรายย่อยคิดเป็นสัดส่วน 54% ของตลาด ความพยายามของรัฐยังไม่ได้ผล แนวโน้มของรายย่อยเช่นนี้สร้าง ปัญหาให้กับความทะเยอทะยานของ รัฐบาลเกาหลีใต้ น�ำโดย ประธานาธิบดี
เปิดค่าตอบแทนซีอีโอใหม่ ‘สตาร์บัคส์’ กว่า 3,000 ล้านบาท ท�ำ งานจากบ้านได้
กฎหมายระหว่างประเทศฉบับใหม่ เครื่องมือยุติ ‘มลพิษจากพลาสติก’
● ศศิญาดา เนาวนนท์ กองกิจการเพื่อการพัฒนา กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ❚ World Wide View กรุงเทพธุรกิจ ปัจจุบัน มีขยะพลาสติกเกือบ 100 ล้านตันที่ได้รับการจัดการ อย่างไม่ถูกต้องหรือถูกปล่อยให้รั่วไหลสู่สิ่งแวดล้อม ทำ� ให้ปัญหา มลพิษจากพลาสติกขยายตัวรุนแรง ส่งผลกระทบต่อทั้งสิ่งแวดล้อม และสุขภาพมนุษย์ นอกจากนี้ วงจรชีวิตพลาสติกยังก่อให้เกิดก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์เร่งภาวะโลกร้อนอีกด้วย ซึ่งองค์การเพื่อความ ร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) คาดว่าปริมาณ
จัดเมื่อเดือนเมษายน 2567 ที่แคนาดา มีผู้เข้าร่วมการประชุมกว่า 2,500 คน ทั้งจากภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ และภาคเอกชน และก�ำหนดให้กระบวนการแล้วเสร็จในการประชุม INC-5 ในเดือน พฤศจิกายน 2567 ที่เมืองปูซาน ทั้งนี้ ก่อนการประชุม INC-4 กลุ่ม Break Free From Plastic ซึ่งเป็นการรวมตัวขององค์กรภาคประชา สังคมทั่วโลก ได้เรียกร้องหน้ารัฐสภาแคนาดาให้จัดทำ� กฎหมายระหว่าง ประเทศให้ส�ำเร็จตามก�ำหนดในปีนี้ และเรียกร้องให้ประเทศพัฒนา แล้วหยุดการส่งออกขยะไปยังประเทศก�ำลังพัฒนา หากจะถามว่า ร่างกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อยุติมลพิษ จากพลาสติกฉบับใหม่มีความส� ำคัญอย่างไร และท� ำไมไทย ต้องเข้าร่วมการเจรจาด้วยนั้น ไทยมีขยะมากถึงวันละประมาณ 70,000 ตัน ติดอันดับ 1 ใน 10 ประเทศที่มีขยะพลาสติก
กรุงเทพธุรกิจ • “ไบรอัน นิกโคล” ซีอีโอคนใหม่ของ ‘สตาร์บัคส์’ ผู้เคย พลิกฟื้นร้านอาหารเม็กซิโก Chipotle มาแล้ว รอบนี้ได้ค่าตอบแทนมูลค่ารวม กว่า 3,000 ล้านบาท และกลายเป็นความ หวังใหม่ในการนำ� พาสตาร์บัคส์ให้กลับมา ผงาดอีกครั้ง หลังข่าวการผลัดใบประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร (ซีอีโอ) ของบริษัท เงือกเขียวเป็น “ ไบรอัน นิกโคล ” สตาร์บัคส์ เผยว่า ซีอีโอคนใหม่นี้ซึ่งเคยบริหาร บริษัทร้านอาหารเม็กซิโก Chipotle Maxican Grill มาแต่เดิม มีสิทธิ์ได้รับค่า ตอบแทนตั้งแต่ผลตอบแทนหุ้นที่บริษัท มอบให้เป็นรางวัลประจ� ำปี มูลค่ากว่า 23 ล้านดอลลาร์ หรือราว 800 ล้านบาท, ได้หุ้นมูลค่า 75 ล้านดอลลาร์ (ราว 2,600 ล้านบาท) ถ้าเขายอมสละหุ้นในบริษัท Chipotle Mexican Grill, เงินเดือน ประจ�ำปีแรกเริ่มอยู่ที่ 1.6 ล้านดอลลาร์ (ราว 56 ล้านบาท) และ โบนัสเงินสดจำ� นวน 10 ล้านดอลลาร์ (ราว 350 ล้านบาท) ยิ่งไปกว่านั้นสตาร์บัคส์อนุญาตให้ ซีอีโอคนใหม่ไม่จำ� เป็นต้องย้ายไปอยู่ที่ สำ� นักงานใหญ่ในเมืองซีแอตเทิล แต่ สามารถทำ� งานทางไกล หรือจากที่บ้าน ซึ่งห่างจากส� ำนักงานใหญ่ของบริษัท ราว 1,600 กิโลเมตรได้ ทั้งๆ ที่เมื่อช่วง ต้นปีสตาร์บัคส์กำ� หนดให้พนักงานต้อง เข้าออฟฟิศอย่างน้อยสัปดาห์ละสามวัน ท�ำให้พนักงานบางส่วนไม่พอใจ ทั้งนี้ นิกโคลจะเข้ารับต� ำแหน่ง ซีอีโอในวันที่ 9 ก.ย. ออฟฟิศหลักของ
ขยะพลาสติกจะเกิน 1 พันล้านตัน ต่อปีภายในปี 2603 นานาประเทศ จึงได้พยายามแก้ไขปัญหานี้ โดยเริ่ม จากที่ประชุมสมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่ง สหประชาชาติเมื่อปี 2565 มีข้อมติเห็น ชอบให้จัดทำ� กฎหมายระหว่างประเทศ เพื่อยุติมลพิษจากพลาสติก ต่อมาไทยและประเทศต่าง ๆ รวม 193 ประเทศ ได้เข้าร่วมการประชุมคณะ
รั่วไหลลงทะเลมากที่สุด ไทยจึงให้ ความสำ� คัญกับการแก้ปัญหามลพิษจาก พลาสติก และได้เข้าร่วมในการเจรจา ร่างกฎหมายระหว่างประเทศฉบับนี้ โดยมีผู้แทนจากทุกภาคส่วนของไทย เข้า มามีส่วนร่วมในการเตรียมท่าทีไทยและ การเจรจา ทั้งภาครัฐ ภาควิจัย ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อร่วมให้ข้อมูล และกำ� หนดทิศทางการจัดทำ� ร่างกฎหมาย
เขาอยู่ที่ส� ำนักงานใหญ่ในเมืองซีแอตเทิล โดยบริษัทจะช่วยจ่ายค่าที่พักเป็นเวลาสูงสุด สามเดือน หากนิกโคลตัดสินใจย้ายไปยัง พื้นที่ซีแอตเทิล เขาจะมีสิทธิ์ได้รับค่าใช้จ่าย ในการย้ายถิ่นฐานบางส่วนด้วย ส่วนผลงานในอดีตนิกโคลด� ำรง ต�ำแหน่งซีอีโอของ Chipotle มาตั้งแต่ เดือนมี.ค.2018 มีบทบาทส� ำคัญในการ ฟื้นฟูชื่อเสียงและขยายการเติบโตของร้าน อาหารเม็กซิโก จนรายได้ของ Chipotle เพิ่มขึ้นเกือบสองเท่า ก�ำไรเพิ่มขึ้นเกือบ เจ็ดเท่า และราคาหุ้นเพิ่มขึ้นเกือบ 800% ในระหว่างที่เขาด�ำรงต�ำแหน่ง สตาร์บัคส์จึงคาดหวังว่า ประสบการณ์ ของนิกโคลจะช่วยให้รายได้บริษัทกลับมา เติบโตได้ โดยเขาจะก้าวขึ้นเป็นซีอีโอคนที่ 6 ของบริษัท แทนที่ลักษมัน นาราซิมฮาน ผู้รับต� ำแหน่งเมื่อเดือน มี.ค.2023 และ ลาออกเมื่อวันที่ 13 ส.ค. ย้อนไปในช่วงที่นาราซิมฮานเป็น
ซีอีโอ เขาถูกกดดันจากบริษัทจัดการลงทุน อย่าง Elliott Investment Management ให้พลิกฟื้นยอดขายบริษัทให้ได้ ขณะ เดียวกันสตาร์บัคส์ต้องเผชิญกับการแข่งขัน ที่สูงขึ้นจากคู่แข่งที่ว่องไวกว่า และความ ต้องการบริโภคที่อ่อนแอลงทั้งในสหรัฐ และจีน จนท�ำให้หุ้นของสตาร์บัคส์ร่วงลง เกือบ 25% หากเทียบค่ าตอบแทนของ ซีอีโอทั้งสองคน นาราซิมฮานในฐานะ ซีอีโอสตาร์บัคส์ปีที่แล้วอยู่ที่ 14.6 ล้านดอลลาร์ (ราว 512 ล้านบาท) ปี 2022 ได้ 8.8 ล้านดอลลาร์ ส่วนค่าตอบแทนของนิกโคลที่ Chipotle อยู่ที่ 22.5 ล้านดอลลาร์ (ราว 790 ล้านบาท) ในปี 2023 เมื่อเทียบกับ 17.2 ล้านดอลลาร์ ในปี 2022 โดยภายใต้การบริหารของ นิกโคล ยอดขายของ Chipotle เพิ่มขึ้น เป็น 2 เท่าในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ขณะที่หุ้น ของบริษัทเพิ่มขึ้นมากกว่า 3 เท่า
กรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Negotiating Committee: INC) เพื่อร่างกฎหมายระหว่างประเทศดังกล่าว การ ประชุม INC ได้รับการจับตามองอย่างมาก เนื่องจากมีผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเข้าร่วมอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ประเทศผู้ผลิตน�้ ำมันซึ่งเป็น ส่วนประกอบส� ำคัญของพลาสติก ประเทศผู้ใช้พลาสติก ประเทศ ที่เน้นเรื่องการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสุขภาพมนุษย์ และประเทศ ที่ได้รับผลกระทบด้านระบบนิเวศ แม้ว่าจะไม่ได้เป็นทั้งผู้ผลิตหรือ ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกรายหลัก โดยเฉพาะประเทศหมู่เกาะ ใน ส่วนของประเทศไทย มีคณะผู้แทนไทยโดยกรมควบคุมมลพิษ สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ส� ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ และกระทรวงการต่างประเทศเข้าร่วมการเจรจา การประชุม INC จัดมาแล้ว 4 ครั้ง โดย การประชุม INC-4
ระหว่างประเทศฉบับนี้ให้มีความเป็นธรรมและตอบโจทย์การจัดการ มลพิษจากพลาสติกทั้งวงจรชีวิตพลาสติก ตั้งแต่กระบวนการผลิต ถึงการจัดการขยะ ไทยยึดหลักการเจรจาที่คำ� นึงถึงขีดความสามารถของแต่ละประเทศ การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรม การถ่ายทอดเทคโนโลยีและสร้างเสริม ขีดความสามารถ ตลอดจนหลักการความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของ ผู้ผลิต (Extended Producer Responsibility: EPR) ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมให้ความคิดเห็นต่อร่างกฎหมายฯ ได้ที่เว็บไซต์กรมควบคุมมลพิษ (https://www.thaipost.net/ abroad-news/154844/) เพื่อร่วมผลักดันการจัดทำ� ร่างกฎหมาย ระหว่างประเทศที่มีความสมดุลระหว่างผลประโยชน์ของประเทศ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพมนุษย์ต่อไป
Made with FlippingBook Annual report maker