iNews Online
วันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567
กรุงเทพธุรกิจ
Business ktmkt@nationgroup.com 23
เรามุ่งฟื้นฝูงบินและปริมาณที่นั่งโดยสารฐานปฏิบัติการสนามบินดอนเมือง ส่วนสนามบินอู่ตะเภาที่เคยตั้งเป้าเป็นอีกฐานการบินหลักยังไม่มีแผน ต้องประเมินตลาดให้ชัดและความพร้อมการขยายสนามบินอู่ตะเภา
‘ไทยไลอ้อนแอร์’หวังปีนี้รีเทิร์น‘ท�ำ ก�ำ ไร’ ฟื้นฝูงบินสู่ 35 ล�ำ ปี 68 รุกเส้นทางอินเตอร์ฯ
● พรไพลิน จุลพันธ์ กรุงเทพธุรกิจ
แม้ภาพรวมธุรกิจ “สายการบิน” ตอนนี้ กำ� ลังเจอปัญหา “ขาดแคลนเครื่องบิน” อย่างมากในช่วงฟื้นตัวสู่ภาวะปกติ หลังหมดยุคโควิด-19 เนื่องจากการซ่อมบำ� รุง ล่าช้า ต้องรอคิวโรงซ่อม ทำ� ให้นำ� เครื่องบิน ที่ใช้ได้จริงเข้าประจ� ำการช้าตามไปด้วย แต่สายการบิน “ไทย ไลอ้อน แอร์” ยังคงเร่งฟื้นขนาดฝูงบิน เพื่อนำ� มา สร้างรายได้ รุกเพิ่มเที่ยวบิน และเปิดเส้นทางบินใหม่ ภายใต้ กลยุทธ์บริหารควบคุมต้นทุน สู่เป้าหมายการกลับมา “ทำ� กำ� ไร” อีก ครั้งในปี 2567 อัศวิน ยังกีรติวร ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร สายการบินไทย ไล อ้อน แอร์ เล่าว่า เมื่อปี 2562 ก่อนเกิด โควิด ไทยไลอ้อนแอร์มีฝูงบินรวม 35 ล� ำ และจ� ำเป็นต้องลดขนาดธุรกิจ (ดาวน์ไซส์) ในช่วงการระบาดใหญ่ ปัจจุบัน สามารถฟื้นฝูงบินกลับมาที่ 20 ล� ำแล้ว แบ่งเป็น Boeing 737-800 จำ� นวน 16 ลำ� และ Boeing 737-900ER จำ� นวน 4 ลำ� โดยในปี 2567 จะรับมอบเครื่องบิน เข้ามาอีก 5 ลำ� และในปี 2568 จะรับมอบ อีก 5 ลำ� เช่นกัน ทั้งหมดยังคงเป็น Boeing 737-800 หรือ Boeing 737-900ER เพื่อนำ� มาเปิดเส้นทางบินและเพิ่มความถี่ เที่ยวบินทั้งในและต่างประเทศ ท� ำให้ ในสิ้นปี 2568 จะมีฝูงบินรวม 30 ลำ� “เราจะมุ่งฟื้นฝูงบินและปริมาณ ที่นั่งโดยสาร ให้บริการที่ฐานปฏิบัติการ สนามบินดอนเมืองกลับมาเต็มที่ก่อน ส่วนสนามบินอู่ตะเภาซึ่งก่อนโควิดระบาด ไทยไลอ้อนแอร์เคยวางกลยุทธ์ตั้งเป้า ให้เป็นอีกฐานปฏิบัติการบินหลักนั้น ปัจจุบันยังไม่มีแผนกลับไปบูมอู่ตะเภา จากปัจจัยหลายอย่าง ทั้งเทรนด์ตลาดว่า ในปี 2568 จะเป็นอย่างไร ต้องประเมิน
“อินเดียเป็นตลาด ที่มีดีมานด์การเดินทางสูง อยู่แล้ว จากฐานประชากร มากกว่า 1.4 พันล้านคน โดยเฉพาะในเมืองรองของ
ยังนิยมจองบัตรโดยสารแบบกระชั้นชิด 1-4 สัปดาห์ล่วงหน้า ส่วนตลาดคนไทย ก็นิยมเดินทางไปเที่ยวจีนมากขึ้น มีสัดส่วนเพิ่มเป็น 20% ของผู้โดยสาร เส้นทางจีน ส่วน “ญี่ปุ่น” ซึ่งเป็นจุดหมาย ปลายทางยอดนิยมของคนไทย ก่อนโควิดเคยท� ำการบิน 4 เส้นทาง ได้แก่ โตเกียว โอซาก้า นาโกย่า และ ฟุกุโอกะ ปัจจุบันกลับมาให้บริการ แล้ว 1 เส้นทาง คือ โตเกียว เล็งว่า ในปี 2568 จะกลับมารุกทำ� ตลาดเส้นทางบิน ญี่ปุ่นอีกครั้ง ทั้งนี้ ไทยไลอ้อนแอร์คาดว่า ตลอดปี 2567 จะมี “ยอดผู้โดยสาร” รวม 6-7 ล้านคน จากเป้าหมาย โหลดแฟคเตอร์เฉลี่ยทั้งปี เส้นทาง ในประเทศอยู่ที่ 85% และเส้นทาง ระหว่างประเทศอยู่ที่ 75% โดยคิด เป็นสัดส่วนผู้โดยสารเส้นทางในและ ระหว่างประเทศอย่างละ 50% ขณะที่ ปี 2562 ก่อนโควิดเคยทำ� ยอดผู้โดยสาร รวมได้ 13-14 ล้านคน “ไทยไลอ้อนแอร์คาดหวังด้วย ว่าในปี 2567 จะเป็นปีแรกที่ตั้งหลัก กลับมาท� ำก� ำไรได้อีกครั้งนับตั้งแต่ เจอวิกฤติโควิด จากกลยุทธ์บริหาร จัดการต้นทุนได้ดีขึ้น หลังจาก ไทยไลอ้อนแอร์เปิดให้บริการมาเป็น ปีที่ 11 และระหว่างนั้นเคยทำ� กำ� ไร มาแล้ว” นันทพร กล่าว
อินเดีย พบว่ามีดีมานด์อยากมา เที่ยวประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น กรุงเทพฯ และภูเก็ต เมื่อเปิด 2 เส้นทางใหม่สู่อินเดีย จะทำ� ให้ในปีนี้ ไทยไลอ้อนแอร์มี 5 เส้นทางบินสู่อินเดีย ได้แก่ มุมไบ บังกาลอร์ โคชิ อาห์เมดาบัด และอัมริตสาร์ คาดมีอัตราการขนส่ง ผู้โดยสาร (โหลดแฟคเตอร์) ไม่ตำ�่ กว่า 70-75%” ด้านตลาด “จีน” ปัจจุบันให้บริการ เส้นทางบินประจำ� 6 เส้นทาง ได้แก่ เซี่ยงไฮ้ กว่างโจว หางโจว เซินเจิ้น ซีอาน และเฉิงตู ขณะเดียวกันให้บริการเที่ยวบินเช่าเหมาลำ� (ชาร์เตอร์ไฟลต์) ไปเมืองอื่นๆ ด้วย มีโหลดแฟคเตอร์เฉลี่ย 65% โดยตั้งเป้าหมาย ฟื้นฟูตลาดกลับมาให้บริการ 80% ในเชิง จุดบินภายในปีนี้ จากก่อนโควิดให้บริการ เส้นทางบินสู่จีนมากถึง 22 จุดบินท่ามกลาง ความท้าทายจากเศรษฐกิจจีนชะลอตัว อย่างไรก็ตาม พอมีมาตรการยกเว้น วีซ่า (วีซ่าฟรี) ถาวรระหว่างไทย-จีน มีผลตั้งแต่ 1 มี.ค. 2567 เป็นต้นไป ส่งผลดีต่อการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวจีน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการเดินทาง พอสมควร มีกลุ่มเดินทางด้วยตัวเอง (FIT) เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ขณะเดียวกัน
ให้ชัดก่อน รวมถึงปัจจัยความพร้อม ของการขยายสนามบินอู่ตะเภาใน โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)” นันทพร โกมลสิทธิ์เวช ผู้อำ� นวยการ ฝ่ายการพาณิชย์ สายการบินไทย ไลอ้อน แอร์ เล่าเสริมว่า ปัจจุบันภาพรวมการให้บริการ ของไทยไลอ้อนแอร์ เฉพาะเส้นทาง ในประเทศ ในเชิงจุดบินกลับมาให้บริการ ครบ 100% แล้ว แต่ในเชิงปริมาณที่นั่ง โดยสารฟื้นตัว 50-60% ตั้งเป้าฟื้นกลับ มาเต็มร้อยภายในไตรมาส 1-2 ปี 2568 ส่วนเส้นทางระหว่างประเทศ ในเชิง จุดบินปัจจุบันให้บริการ 15 จุดบิน กลับมา เกือบ 50% เทียบกับก่อนโควิดที่มีประมาณ 40 จุดบิน แต่ในเชิงปริมาณที่นั่งโดยสาร ฟื้นตัว 60% จากแผนการรับมอบเครื่องบินเข้ามา 5 ล� ำใหม่ในปีนี้ จะน� ำมาเพิ่มความถี่ เส้นทางบินเดิมและเปิดเส้นทางระหว่าง
ประเทศใหม่ โดยเฉพาะ “จุดหมายใหม่ๆ ที่ไม่เคยทำ� การบินมาก่อน” อาทิ เส้นทาง กรุงเทพฯ - ปีนัง มาเลเซีย เริ่มทำ� การบิน เมื่อเดือน เม.ย. พร้อมเดินหน้าบุก ตลาด “อินเดีย” เปิดเส้นทาง กรุงเทพฯ - อาห์เมดาบัด ความถี่ 4 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ เริ่มบิน 15 ส.ค. และในไตรมาส 4 เตรียมเปิด เส้นทาง กรุงเทพฯ - อัมริตสาร์ อินเดีย และ
เส้นทาง กรุงเทพฯ - ฮ่องกง ขณะเดียวกัน จะเพิ่มความถี่เส้นทาง กรุงเทพฯ - ไทเป - โตเกียว (นาริตะ) ซึ่งเป็นเส้นทางที่ใช้ เสรีภาพการบินที่ 5 (Fifth Freedom) เลือกกรุงไทเป (ไต้หวัน) เป็นจุดแวะรับส่ง ผู้โดยสาร จากปัจจุบันมี 5 เที่ยวบิน ต่อสัปดาห์ จะเพิ่มเป็น 6 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ ในปลายปีนี้
Made with FlippingBook Annual report maker