iNews Online
พยาบาลผู้ประสานงาน เบื้องหลัง ‘บริจาค’ อวัยวะ วันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567 Health & We ll ness กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจ • ในประเทศไทยแม้ว่า จะมีผู้แสดงความจ� ำนงบริจาคอวัยวะกว่า ปีละ 50,000 ราย แต่ส่วนใหญ่การเสียชีวิต มิใช่เกิดจากสมองตาย หรือ มีข้อห้ามของการ บริจาคอวัยวะ เช่น เสียชีวิตหัวใจหยุดเต้น ● หทัยรัตน์ ดีประเสริฐ qualitylife4444@gmail.com
qualitylife4444@gmail.com 11
“ยุวดี อรรถจารุสิทธิ์” ที่ปรึกษาศูนย์ รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย อดีตหัวหน้า ฝ่ายปฏิบัติการ ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ เล่าว่าในการบริจาคอวัยวะนั้น ถึงแม้ ผู้บริจาคจะมีความจำ� นงและมีบัตรแสดงตนว่า มีการบริจาคอวัยวะ แต่ขั้นตอนนั้นเมื่อ เสียชีวิตแล้วส่วนมากต้องพูดคุยกับญาติ และต้องขอให้ญาติเซ็นยินยอมก่อนตาม กฎหมายถึงจะสามารถดำ� เนินการต่อไปได้ ถ้าญาติไม่ยินยอมก็ไม่สามารถเอาได้ ที่สำ� คัญ ยังมีความเชื่อหลังจากเสียชีวิตอีกส่วนหนึ่ง ที่ท� ำให้ไม่สามารถท� ำตามความจ� ำนงของ ผู้บริจาค โดยหลังจากที่ญาติยินยอมแล้ว แพทย์ และพยาบาลจะต้องดูแลรักษา ร่างกายผู้ที่ บริจาคอวัยวะให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ที่สุด ก่อนที่ให้นำ� อวัยวะไปใช้ต่อได้อย่างสมบูรณ์ ที่สุดปัจจุบันประเทศไทยมียอดการบริจาค อวัยวะประมาณ 2.2 %ของจำ� นวนประชากร เท่านั้น ขณะที่อังกฤษ มีสัดส่วนผู้บริจาคถึง 40 % ของจำ� นวนประชากร เพราะหลายคน ยังคงเชื่อว่าถ้าบริจาคอวัยวะแล้วชาติหน้า จะเกิดมามีอวัยวะไม่ครบ ขณะที่การบริจาค อวัยวะโดยผู้บริจาคเพียงหนึ่งราย สามารถ ช่วยเหลือผู้ป่วยได้ถึง 8-9 คน โดยเฉพาะ คนหนุ่มสาว ที่เป็นเจ้าของอวัยวะที่มี คุณภาพที่ดีที่สุดหากแสดงความจ� ำนง “บริจาคอวัยวะ” จะเป็นการประกาศว่าอวัยวะ จะถูกไปใช้ต่ออย่างเหมาะสม “การสื่อสารให้สังคมไทยรับรู้และ เข้าใจว่าการบริจาคอวัยวะสามารถท� ำได้ อย่างไร ถ้าหากมีการบรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับ การบริจาคอวัยวะไว้ในหลักสูตร จะทำ� ให้ เยาวชนไทยเข้าใจได้มากขึ้น และยังสามารถ สื่อสารกับญาติไว้ได้อีกด้วย หากถึงเวลาที่ ต้องดำ� เนินการตามเจตจำ� นง ทำ� ให้แพทย์ และพยาบาลในสถานพยาบาลที่มีความ พร้อมในการบริจาคอวัยวะทำ� งานได้ตาม เจตจ�ำนงมากขึ้น”
หรือ มีการติดเชื้อ อวัยวะได้รับบาดเจ็บ ทำ� ให้ไม่สามารถนำ� อวัยวะไปใช้ปลูกถ่ายได้ รวมทั้งปัญหาอวัยวะที่น� ำไปปลูกถ่ายหรือ ท�ำงานได้ไม่ดี เข้ากันไม่ได้กับร่างกายของ ผู้รับ เนื่องจากอายุของผู้บริจาค, ขนาดของ อวัยวะ, การท�ำงานของอวัยวะ, ระยะเวลา ขาดเลือดของอวัยวะ และความแตกต่าง ของเนื้อเยื่อ เป็นต้น ทำ� ให้มีผู้ป่วยที่รอการบริจาคอวัยวะ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2567 มากถึง 7,133 ราย โดย 95 เปอร์เซ็นต์ เป็นผู้ป่วยที่รอ “ไต” ถึง 6,619 ราย ซึ่งถือเป็นอวัยวะที่ขาดแคลน ที่สุด รองลงมา คือ ตับ หัวใจ ปอด และ ตับอ่อน มีผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะแล้ว 465 ราย และทุกๆสัปดาห์จะมีผู้เสียชีวิต 2 รายจากการรอปลูกถ่ายอวัยวะ ซึ่งมีแนวโน้ม จำ� นวนผู้รอรับอวัยวะเพิ่มขึ้นปีละ 2,000 ราย ขณะที่มีผู้ป่วยโรคไตประมาณ 100,000 - 200,000 รายที่ไม่ได้อยู่ในระบบ ขณะนี้สภากาชาดไทย กำ� ลัง “ร่าง พรบ. การบริจาคอวัยวะ” จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับ การบริจาคอวัยวะ กรณีที่แสดงความจำ� นง ไปแล้วเมื่อแพทย์ลงความเห็นว่าเสียชีวิต จากภาวะก้านสมองตาย สามารถด� ำเนินการ ได้โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจากญาติ จากปัจจุบันต้องให้ญาติยินยอม ถ้าได้รับ การคัดค้านก็ไม่สามารถเอาอวัยวะได้ แม้ว่า จะขัดต่อวัตถุประสงค์ของคนแสดงความ จ�ำนงก็ตาม “รศ.นพ.สุภนิติ์นิวาตวงศ์” รองผู้อำ� นวยการ ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย กล่าวว่า จึงพยายามสื่อสารกับสังคมว่า “การบริจาค อวัยวะไม่ทำ� ให้เราตาย แต่ความตายทำ� ให้ เกิดการบริจาคอวัยวะ ได้ถือเป็นการสร้าง ประโยชน์และความสุขอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เป็นการให้ชีวิตใหม่ให้ผู้ป่วยได้กลับ คืนสู่สังคมด้วยคุณภาพชีวิตที่ดี อีกทั้ง ยังมีโอกาสได้สร้างประโยชน์ให้กับสังคม ต่อไป
ยุวดี อรรถจารุสิทธิ์
ถ้าหากมีการบรรจุ เนื้อหาเกี่ยวกับการ บริจาคอวัยวะไว้ใน หลักสูตร จะท�ำ ให้ เยาวชนไทยเข้าใจ ได้มากขึ้น และยัง สามารถสื่อสารกับ ญาติไว้ได้อีกด้วย
ขณะเดียวกันผู้บริจาคอวัยวะ โดยเฉพาะ ผู้ที่อายุยังน้อย ต้องสื่อสารกับญาติไว้ด้วยว่า กรณีที่แพทย์วินิจจัยว่าผู้บริจาคอวัยวะมี ภาวะก้านสมองตายแล้ว แพทย์สามารถ ดำ� เนินการต่างๆตามเจตจำ� นงได้ ก็จะทำ� ให้ การด�ำเนินการต่างๆง่ายขึ้น โดยหลังจากที่ แพทย์ลงความเห็นแล้ว ผู้ที่ทำ� หน้าที่ต่อไป ในการเจรจากับญาติเพื่อดำ� เนินการขั้นตอนไป ก็คือ “พยาบาลผู้ประสานงานบริจาคอวัยวะ” ซึ่งถือเป็นบุคคลที่ปิดทองหลังพระ เจรจา ให้กับญาติให้ยินยอมทำ� งานร่วมกับแพทย์ จนกว่าจะจบขั้นตอนการบริจาค
World Organ Donation Day ศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
ผู้ให้ สร้างชีวิตใหม่ผู้รับ” ตั้งแต่เวลา 14.00 -18.00 น. ณ โซน Eden ชั้น 3 ศูนย์การค้า เซ็นทรัลเวิลด์ เชิญชวนผู้ที่สนใจสามารถแสดงความ จ�ำนงบริจาคได้ทั้ง 2 ประเภท คือ 1.บริจาค อวัยวะและดวงตาเพื่อน� ำไปปลูกถ่ายให้ ผู้ป่วยและ 2.บริจาคอุทิศร่างกายเพื่อการ
ศึกษา รวมทั้งให้ความรู้เรื่องการบริจาค อวัยวะ แสดงความจำ� นงบริจาคอวัยวะ ได้จ� ำนวนมากตามเป้าหมายจ� ำนวน 5,000 รายภายใน 1 เดือน ส่วนการ บริจาคร่างกาย สามารถแสดงความ จ� ำนงได้ที่https://anatomydonate. kcmh.or.th/
ร่วมกับสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่ง ประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข องค์กรสมาชิกทั้งภาครัฐและเอกชนจัด งาน World Transplant Month 2024 ในวันที่ 30 สิงหาคม ภายใต้แคมเปญ “Give LIFE Get LIVES: สร้างกุศล
Made with FlippingBook Annual report maker